หลักฐานทางโบราณคดี

หลักฐานทางโบราณคดี

หลักฐานทางโบราณคดี

หลักฐานทางโบราณคดี ต้องพูดตามหลักความเป็นจริงเลย ว่าถ้าตามหลักสากลยุคประวัติศาสตร์จะทำการเริ่มนับตรง ที่มนุษย์เริ่มมีการจดบันทึกเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เป็นลายลักษณ์อักษรส่วนก่อนหน้านั้นจะเรียกว่ายุคก่อนประวัติศาสตร์ ซึ่งยุคก่อนประวัติศาสตร์ตราบจนจนถึงทุกวันนี้ เรียกได้ว่าไม่มีอะไรที่ฟันธงและแน่นอนว่าเกิดขึ้นจริงหรือไม่ จึงทำให้ไก่เป็นการมีข้อถกเถียงกัน อยู่มากมาจนถึงในปัจจุบันนี้เพราะมีเพียงแค่หลักฐานบางชิ้น 

และ ก็ไม่ค่อยจะสมบูรณ์เท่าไหร่ส่วนในยุคประวัติศาสตร์นั้น ค่อนข้างที่จะมีหลักฐานที่ชัดเจน กว่าแต่ก็ใช่ว่าจะทั้งหมดเพราะเมื่อมีการศึกษาประวัติศาสตร์กันมากยิ่งขึ้น เท่าไหร่ก็ทำให้มนุษย์คนเรานั้น สามารถเข้าใจผิดอะไรหลายๆอย่างมานานและต้องเปลี่ยนความเข้าใจ ทางประวัติศาสตร์กันใหม่ อยู่หลายครั้งก็มีด้วยการแบ่งสมัยในยุคประวัติศาสตร์จะถูกทำการแบ่ง 

โดยใช้เหตุสำคัญที่ถือได้ว่าเป็นจุดที่เปลี่ยน สมัยเป็นตัวแบ่ง โดยสำหรับวันนี้เราจะพาทุกท่านมาทำการศึกษา เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ และสุดยอดในการค้นพบหลักฐานทางโบราณคดีที่ทำการเปลี่ยนโลก ว่ามีตัวไหนบ้างที่คุณนั้นจะได้ข้อมูลต่าง ๆ ของสิ่งที่เป็นความลึกลับ

แผ่นหินโรเซตตา (The Rosetta Stone): กุญแจไขประวัติศาสตร์ของอียิปต์ ผ่านอักษรภาพฮีโรกลิฟฟิก

หลักฐานทางโบราณคดี

แผ่นหินโรเซตตา เลือกสินค้าคงในค.ศ 1799 ซึ่งถือได้ว่าเป็นช่วงที่อียิปต์ ได้อยู่ภายใต้การปกครองของจักรพรรดิดินโปรเรียนแห่งฝรั่งเศสร้อยเอก ปิแอร์ฟองซัวบูชาร์จวิศวกรรมประจำกองทัพบกได้ทำการค้นพบแผ่นหินอ่อนสีดำแห่งหนึ่งโดยบังเอิญ อ้างว่าเป็นหินแกรนิตขณะที่โครงงานก่อสร้างอยู่ที่เมือง rosesa แผ่นหินน้ำหนักที่มีน้ำหนักอยู่ราวๆ 760 กิโลกรัมบนแผ่นหินนี้ถูกทำการแบ่งจารึกออกเป็น 3 ตอน

ด้วยกันโดยมีอักษรในการจารึกอยู่ทั้งหมด 3 ชนิดนั่นก็คือ กรีกโบราณ Demotic และฮีโรกิฟฟิก จากนั้นไม่นานแผ่นหินนี้กลายเป็นที่รู้จักในชื่อ แผ่นหินโรเชตตา เมื่อตกไปอยู่ในมือของอังกฤษและถูกนำไปไว้ใน ที่บริติชมิวเซียม ในปี ค.ศ. 1802 โดยการที่แผ่นหินทั้ง 3 เหล่านี้จารึกไว้ในแผ่นเดียวกันจึงทำให้กลายเป็นเรื่องที่ง่ายต่อการอ่านและตีความอักษรของฮีโรกลิฟฟิกซึ่งถือได้ว่าเป็นปริศนากว่า 1,000 ปีเพราะเนื่องจากตัวอักษรของชาวอียิปต์โบราณมีวิวัฒนาการแบ่งออกเป็น 4 ระดับนั่นเอง

ทรอย (Troy): ไขปริศนาเรื่องเล่าของโฮเมอร์ และประวัติศาสตร์กรีก

หลักฐานทางโบราณคดี

ทรอย รื่องราวอันยิ่งใหญ่ของสงครามกรุงทรอย ในมหากาพย์อิลเลียด (The Illiad) ที่โฮเมอร์ (Homer) กวีชาวกรีกแต่งขึ้นเมื่อราว 850 ปีก่อนคริสตกาลนั้น นับได้ว่าเป็นวรรณคดีชิ้นสำคัญของโลกที่ได้ทำการสอดแทรกทั้งความสนุกสนาน และ นอกจากนี้วัฒนธรรมและประเพณียุคโบราณยังรวมไปถึงความกล้าหาญของบรรดานักรบทั้งหลายหากนักวิชาการส่วนใหญ่ มักจะมีความเชื่อที่ว่าเกิดขึ้นในกลุ่มพลอย

ซึ่งถือได้ว่าเป็นเมืองที่ตั้งอยู่ในดินแดนเอเชียไมเนอร์ เป็นเพียงจินตนาการของโฮมเมอร์เท่านั้นแต่ในปีค.ศ น่าจะเป็นกรุงทรอย ตามเรื่องราวในมหากาพย์ของโฮเมอร์ นักประวัติศาสตร์หลายคนค้นคว้าซากเมืองโบราณในแถบทะเลอีเจียนและประเทศตุรกี เป็นเวลาหลายทศวรรษ โดยเฉพาะเนินดินสูงที่เรียกว่า “ฮิสซาร์ลิก (Hissarlik)” ซึ่งเชื่อกันว่าเนินดินนี้กลบฝังเมือง โบราณที่ถูกทำลายไปเมื่อพันกว่าปีที่ผ่านมา1870 แวดวงประวัติศาสตร์ และ โบราณคดีก็มีอันที่ต้องตื่นตกตะลึงกันเมื่อเริ่มมีการขุดค้นพบเมือง

ห้องสมุดอัสซีเรีย ในเมืองโบราณนิเนเวห์ (Nineveh’s Assyrian Library):เปิดประตูสู่อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
หลักฐานทางโบราณคดี

ห้องสมุดอัสซีเรีย ในเมืองโบราณนิเนเวห์  เมืองนิเนเวห์ เป็นเมืองโบราณ ตั้งอยู่บนลุ่มแม่น้ำไทกริส ปัจจุบันคือบริเวณที่อยู่ตรงข้ามกับเมืองโมซูล ประเทศอิรัก ในอดีตเคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรอัสซีเรีย (Assyrian Empire) ซึ่งก่อตั้งขึ้นราว 900-700 ปีก่อนคริสตกาล และเผยแพร่อาณาเขตครอบคลุมไปถึงแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนระเบียบและอาร์เมเนียเมืองโบราณแห่งนี้ได้ถูกอาณาจักรบาบิโลเนีย

และชนชาติอื่นๆซึ่งเป็นศัตรูกับอัลซีเลียเข้าทำการยึดเมื่อทำลายมามากกว่า 612 ปีก่อนคริสต์ศาสตราจารย์ในค.ศ 1843 ทว่าคนที่ทำการค้นพบหลักฐานทางประวัติศาสตร์เช่นสำคัญได้ทำการบ่งบอกถึงความรุ่งเรืองวรรณคดีของดินแดนแถบนี้ ออสเตน เฮนรี่ ลายาร์ด (Austen Henry Layard) นักโบราณคดีชาวอังกฤษ ลายาร์ดพบห้องสมุดหลวงของกษัตริย์อาซูร์บานีปาล (The Royal Library of Ashurbanipal) 

กษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในอาณาจักรอัสซีเรีย พระองค์เป็นทั้งนักรบ นักปกครอง นักวิชาการ และเป็นผู้อุปถัมป์งานด้านศิลปะและการศึกษา ห้องสมุดแห่งนี้รวบรวมงานเขียนที่เป็นแผ่นจารึกต่างๆ ไว้กว่า 22,000 แผ่น ไม่เพียงเฉพาะแผ่นจารึกในภาษาอัสซีเรียเท่านั้น แต่ย้อนหลังไปถึงจารึกโบราณของอาณาจักรอัคคาเดียและสุเมเรียเลยทีเดียว

ลิขิตเดดซี (Dead Sea Scrolls) : จารึกโบราณเก่าแก่ที่สุดซึ่งเผยวิถีชีวิตของชาวยิว

ลิขิตเดดซี ในฤดูหนาวปีค.ศ 1947 คนเลี้ยงแก่ชาวเบดูอินในแถบหน้าผา ทางตะวันตกเฉียงเหนือของทะเลสาบเดดซีระหว่างระหว่างเบธเลเฮมและแม่น้ำจอร์แดน ในเขตปาเลสไตน์ ได้พบถ้ำขนาดใหญ่แห่งหนึ่งโดยบังเอิญ  มีสิ่งปรักหักพังมากมาย รวมถึง ม้วนหนังสัตว์ 3 ม้วน ซึ่งม้วนขนาดใหญ่มีความยาวถึง 8 เมตร จึงนำไปขายให้พ่อค้าคนหนึ่ง ซึ่งเขาได้มอบต่อให้กับ แอธธานาเซียส ซามูเอล (Athanasius Samuel) 

อาร์คบิชอปในกรุงเยรูซาเล็ม ซึ่งพบว่าม้วนจารึกเหล่านี้เป็นจารึกโบราณภาษาฮิบรู นักโบราณคดีขนานนามม้วนจารึกเหล่านั้นว่า “ลิขิตเดดซี” (Dead Sea Scrolls) ต้องบอกเลยว่าในการค้นพบครั้งนี้ถูกทำการเปิดเผยให้เห็นถึงวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของชาวยิวกันเลยทีเดียวเพราะในยุคก่อนการประสูติของพระเยซูนอกจากนี้ จารึกบางฉบับยังคงเป็นฉบับคัดลอก จากพระคัมภีร์ศาสนายูดายและเมื่อนักประวัติศาสตร์ 

ได้ทำการแปลความหมายออกมา กับพบว่าตรงกับพระคัมภีร์ไบเบิลฉบับพันธสัญญาเดิมซึ่งสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน จึงกลายเป็นเรื่องที่สามารถพิสูจน์ ถึงความเชื่อมโยงของศาสนาคริสต์ในยุคเริ่มแรกของศาสนายูดาย ว่าอันที่จริงแล้วความเชื่อของทั้งสอง ศาสนานั้นมีพื้นฐานมาจากขนบและความเชื่อแบบเดียวกัน และตลอดระยะเวลาที่ผ่านมานับเป็นพันปี พระคัมภีร์ไบเบิลฉบับพันธสัญญาเดิมมีการเปลี่ยนแปลงเพียงแค่เหล็กน้อยเท่านั้น

ติดตามข้อมูลได้ที่เว็บไซต์ : https://discoveryman.com/